สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายการพัฒนาอาชีวศึกษา
43 พัฒนาระบบคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา
ที่ ประเด็นการพัฒนา โครงการ/กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม ผลการดำเนินงาน หลักฐานประกอบ
1 พัฒนาระบบคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา
1. ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจากรอการพัฒนาระบบของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมกรุงเทพ
ย้งไม่ได้ดำเนินการ ยังไม่ได้ดำเนินการ ลิงค์
2. จัดการศึกษาเพื่อคนพิการ
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน บูรณาการศึกษา เตรียมความพร้อมของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน จัดการเรียนการสอนทั้งหมด 6 รายวิชา ได้แก่ วิชาการชงการแฟสด วิชาอาหารว่าง วิชาขนมอบยอดนิยม ขนมอบเพื่ออาชีพ วิชาการประดิษฐ์ของชำร่วยและของที่ระลึก วิชาถ่ายภาพเบื้องต้น ระหว่างวันที่ 25 มกราคม 2567- 23 กุมภาพันธ์ 2567 ณ สมาคมสติปัญญา ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ทักษะวิชาชีพไปต่อยอดในการประกอบอาชีพในอนาคต และมีความพึ่งพอใจในระดับดีมาก ลิงค์
3. พัฒนาด้านหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพ
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
การจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพสาขาธุรกิจ สาขาการบัญชี สาขาการท่องเที่ยว-โรงแรม สาขาอาหารและเครื่องดื่ม นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพ ลิงค์
4. ฝึกอบรมอาชีพประชากรเพื่อนบ้านในอาเซียนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
เป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ และเพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนและประชากรในกลุ่มอาเซียน ในวันที่ 29 ตุลาคม 2566 ณ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์และเพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนและประชากรในกลุ่มอาเซียน และมีความพึ่งพอใจในระดับดีมาก ลิงค์
5. ารพัฒนาหลักสูตรระบบสะสมหน่วยกิต (Credit Bank) สำหรับภาคเรียนที่ 1/2568
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกริก ได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรระบบสะสมหน่วยกิต (Credit Bank) สำหรับภาคเรียนที่ 1/2568 เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เข้าร่วมโครงการเพื่อจะได้รับใบรับรองการสะสมหน่วยกิตและผลการเรียนระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยเกริก ประกอบด้วย - สาขาวิชาการบัญชี ???? - สาขาวิชาการตลาด ???? เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถเรียนต่อระดับปริญญาตรีได้อย่างต่อเนื่องและประหยัดเวลา รวมถึงสิทธิประโยชน์มากมายดังต่อไปนี้! - เรียนจบเร็วขึ้น สามารถโอนหน่วยกิตจาก ปวส. ได้สูงสุดถึง 1 ปีครึ่ง หรือประมาณ 3 ภาคเรียน (ขึ้นกับผลการเรียนและสาขาวิชา) - ลดค่าใช้จ่าย 20% ตลอดหลักสูตร - ระบบการเรียนที่ยืดหยุ่นเริ่ดทันยุคดิจิทัล ???? ???? รูปแบบการเรียนการสอนจะจัดขึ้นทั้งแบบ Onsite, Online (ผ่านระบบ LMS ของมหาวิทยาลัยเกริก) และแบบ Hybrid เพื่อให้เหมาะสมกับนักศึกษาในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกริก ได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรระบบสะสมหน่วยกิต (Credit Bank) สำหรับภาคเรียนที่ 1/2568 เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เข้าร่วมโครงการเพื่อจะได้รับใบรับรองการสะสมหน่วยกิตและผลการเรียนระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยเกริก ประกอบด้วย - สาขาวิชาการบัญชี ???? - สาขาวิชาการตลาด ???? เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถเรียนต่อระดับปริญญาตรีได้อย่างต่อเนื่องและประหยัดเวลา รวมถึงสิทธิประโยชน์มากมายดังต่อไปนี้! - เรียนจบเร็วขึ้น สามารถโอนหน่วยกิตจาก ปวส. ได้สูงสุดถึง 1 ปีครึ่ง หรือประมาณ 3 ภาคเรียน (ขึ้นกับผลการเรียนและสาขาวิชา) - ลดค่าใช้จ่าย 20% ตลอดหลักสูตร - ระบบการเรียนที่ยืดหยุ่นเริ่ดทันยุคดิจิทัล ???? ???? รูปแบบการเรียนการสอนจะจัดขึ้นทั้งแบบ Onsite, Online (ผ่านระบบ LMS ของมหาวิทยาลัยเกริก) และแบบ Hybrid เพื่อให้เหมาะสมกับนักศึกษาในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ลิงค์
6. ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ นักศึกษาแผนกวิชาการบัญชี และ การตลาดระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 1 เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งสอบถามข้อมูลจากทางคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก สำหรับการศึกษาต่อในหลักสูตรดังกล่าว ลิงค์
7. หลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ ลิงค์
8. การเทียบรายวิชาจากการเรียนหลักสูตรระยะสั้น
วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม
วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม มีการเทียบรายวิชา จากการเรียนหลักสูตรระยะสั้น นำมาเป็นหน่วยกิตสะสม ใช้ในการเทียบโอนได้ นักเรียนที่ได้ผ่านการเรียนหลักสูตรระยะสั้น สามารถนำมาเทียบโอนในการศึกษาต่อในสาขาที่เรียนหลักสุตรระยะสั้นนั้นมาแล้ว ลิงค์